Disclaimer: เว็บบอร์ดไทยเฮลท์ ให้คำแนะนำในเว็บบอร์ดเท่านั้นไม่ใช่การรักษา ในกรณีที่ต้องการรักษา โปรดปรึกษาและนัดพบแพทย์ในสถานบริการเสมอ
เว็บไซต์ถามตอบปัญหาสุขภาพ ข่าวสุขภาพ เกี่ยวกับโรค อาการ ยา การดูแลตนเอง โดยแพทย์เฉพาะทางอายุรกรรม ข่าวสุขภาพของไทยและข่าวสารต่างประเทศ . The health webboard provides health advice, allowing users to ask health-related questions and get answers from our team of doctors (MD, Internists). It also features health news from Thailand and around the world.
Thai guideline AF 2025

Quote from สุขภาพและความงาม on มีนาคม 27, 2025, 7:14 amThai AF Guideline 2025 สรุปข้อควรรู้ 1.ประเทศไทยเราใช้ ไม่เอา 3อ คือ ไม่เอาอัมพฤกษ์/อัมพาต , ไม่เอาอาการ และ ไม่เอาอ้วนและอื่นๆ ซึ่งปรับมาจาก AF-CARE ของ ESC 2024.
2. ประเทศไทย เราใช้ CHA2DS2-VA score ในการประเมินความเสี่ยง stroke/SSE เพื่อให้ง่ายขึ้นโดยตัดปัจจัยเกี่ยวกับเรื่องเพศออกไป
3. แนะนำให้ใช้ DOAC กรณีที่ CHA2DS2-VA ตั้งแต่ 2 คะแนนขึ้นไป ยกเว้น Moderate to severe rheumatic mitral stenosis และ mechanical heart valve .
4. AF with Hypertrophic cardiomyopathy (HCM) , cardiac amyloidosis ให้ OAC โดยไม่ขึ้นกับ CHA2DS2-VA score.
5. ในกรณีใช้ warfarin ต้องพยายามทำให้ระดับ TTR ให้ได้อย่างน้อย 65 %.
6. ไม่แนะนำ การให้ anti platelets ในการป้องกัน stroke / systemic embolism ( SSE ) ใน AF ( class 3 )
7. การทำ rate control เป้าหมาย คุม AFให้ได้ < 110 bpm โดยถ้า LVEF ดี > 40% สามารถให้ยา beta-blocker, NDCCB คือ verapamil/diltiazem , digoxin ถ้ายังคุมไม่ได้ ให้พิจารณาใช้ยาร่วมกัน , ถ้า LVEF<= 40% ให้ใช้ ยา beta-blocker หรือ ยา digoxin
8. ยา Amiodarone สามารถพิจารณาให้ยาเป็น rate control ได้กรณี อาการไม่คงที่จากการเจ็บป่วยวิกฤติ : acute critical illness ( IIb )
9. ควรทำ early rhythm control ในผู้ป่วยที่เป็น AF มาน้อยกว่า 1 ปี ( early AF ).
10. ถ้าผู้ป่วยไม่มีโรคหัวใจ, ไม่มี heart failure, ไม่มี active cardiac ischemia แนะนำให้ใช้ ยา class Ic ( propafenone/ flecainide) โดยการให้ยากลุ่มนี้ต้องให้ร่วมกับ ยา AV node blocking agent เสมอ เพื่อป้องกัน ภาวะ atrial flutter with 1:1 conduction และให้ monitor QRS duration โดยต้องพิจารณาหยุดยาถ้า QRS เพิ่มขึ้นมากกว่า25% ,
11. การใช้ยา dronedarone ต้องระวังเรื่อง prolong QTc และ ต้องหยุดยาเมื่อ QTc > 500 msec 10. ยา Amiodarone จะแนะนำในกรณีมี HFrEF NYHA 3/4 หรือเพิ่งเกิดภาวะ decompensated HF ภายใน 1 เดือน
12. การทำ catheter ablation ต้องมีการทำ share decision making กับ ผู้ป่วย AF ในผู้ป่วย AF ทั้ง paroxysmal และ persistent AF ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา anti arrhythmic ( class 1 ) และ กลุ่ม tachycardia induced cardiomyopathy เพื่อทำให้ LVEF ดีขึ้น ( class 1 ) ส่วนการจี้ใน HFrEF ทำเพื่อลดการนอนโรงพยาบาลด้วย heart failure และเพิ่มอัตราการรอดชีวิต ( class IIa )
13. การควบคุมปัจจัยเสี่ยงในผู้ป่วย AF ประเทศไทยใช้หลัก 3อ3H 14. Trigger AF มี ความเสี่ยง stroke / SSE = AF ที่เกิดขึ้นเอง # Credit งาน Thai Heart 2025.
Thai AF Guideline 2025 สรุปข้อควรรู้ 1.ประเทศไทยเราใช้ ไม่เอา 3อ คือ ไม่เอาอัมพฤกษ์/อัมพาต , ไม่เอาอาการ และ ไม่เอาอ้วนและอื่นๆ ซึ่งปรับมาจาก AF-CARE ของ ESC 2024.
2. ประเทศไทย เราใช้ CHA2DS2-VA score ในการประเมินความเสี่ยง stroke/SSE เพื่อให้ง่ายขึ้นโดยตัดปัจจัยเกี่ยวกับเรื่องเพศออกไป
3. แนะนำให้ใช้ DOAC กรณีที่ CHA2DS2-VA ตั้งแต่ 2 คะแนนขึ้นไป ยกเว้น Moderate to severe rheumatic mitral stenosis และ mechanical heart valve .
4. AF with Hypertrophic cardiomyopathy (HCM) , cardiac amyloidosis ให้ OAC โดยไม่ขึ้นกับ CHA2DS2-VA score.
5. ในกรณีใช้ warfarin ต้องพยายามทำให้ระดับ TTR ให้ได้อย่างน้อย 65 %.
6. ไม่แนะนำ การให้ anti platelets ในการป้องกัน stroke / systemic embolism ( SSE ) ใน AF ( class 3 )
7. การทำ rate control เป้าหมาย คุม AFให้ได้ < 110 bpm โดยถ้า LVEF ดี > 40% สามารถให้ยา beta-blocker, NDCCB คือ verapamil/diltiazem , digoxin ถ้ายังคุมไม่ได้ ให้พิจารณาใช้ยาร่วมกัน , ถ้า LVEF<= 40% ให้ใช้ ยา beta-blocker หรือ ยา digoxin
8. ยา Amiodarone สามารถพิจารณาให้ยาเป็น rate control ได้กรณี อาการไม่คงที่จากการเจ็บป่วยวิกฤติ : acute critical illness ( IIb )
9. ควรทำ early rhythm control ในผู้ป่วยที่เป็น AF มาน้อยกว่า 1 ปี ( early AF ).
10. ถ้าผู้ป่วยไม่มีโรคหัวใจ, ไม่มี heart failure, ไม่มี active cardiac ischemia แนะนำให้ใช้ ยา class Ic ( propafenone/ flecainide) โดยการให้ยากลุ่มนี้ต้องให้ร่วมกับ ยา AV node blocking agent เสมอ เพื่อป้องกัน ภาวะ atrial flutter with 1:1 conduction และให้ monitor QRS duration โดยต้องพิจารณาหยุดยาถ้า QRS เพิ่มขึ้นมากกว่า25% ,
11. การใช้ยา dronedarone ต้องระวังเรื่อง prolong QTc และ ต้องหยุดยาเมื่อ QTc > 500 msec 10. ยา Amiodarone จะแนะนำในกรณีมี HFrEF NYHA 3/4 หรือเพิ่งเกิดภาวะ decompensated HF ภายใน 1 เดือน
12. การทำ catheter ablation ต้องมีการทำ share decision making กับ ผู้ป่วย AF ในผู้ป่วย AF ทั้ง paroxysmal และ persistent AF ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา anti arrhythmic ( class 1 ) และ กลุ่ม tachycardia induced cardiomyopathy เพื่อทำให้ LVEF ดีขึ้น ( class 1 ) ส่วนการจี้ใน HFrEF ทำเพื่อลดการนอนโรงพยาบาลด้วย heart failure และเพิ่มอัตราการรอดชีวิต ( class IIa )
13. การควบคุมปัจจัยเสี่ยงในผู้ป่วย AF ประเทศไทยใช้หลัก 3อ3H 14. Trigger AF มี ความเสี่ยง stroke / SSE = AF ที่เกิดขึ้นเอง # Credit งาน Thai Heart 2025.
.->งดสแปมโดยการใส่ลิงค์=ลบโพสต์ แบน<-