Live Update :ข่าวการระบาดโนโรไวรัสที่ระยองเป็นข่าวปลอม
อัพเดตไข้เลือดออก 2566
Quote from สุขภาพและความงาม on กรกฎาคม 12, 2023, 8:45 amไข้เลือดออกเริ่มมีเคส ไทยเฮลท์ อัพเดตมาให้ทราบ อาการ การดูแลไข้เลือดออก 2566
ไข้เลือดออกเริ่มมีเคส ไทยเฮลท์ อัพเดตมาให้ทราบ อาการ การดูแลไข้เลือดออก 2566
Quote from สุขภาพและความงาม on กรกฎาคม 13, 2023, 5:47 amการรักษาไข้เลือดออก DF/DHF/DSS
กลุ่มที่มี warning signs หรือ signs of dehydration กลุ่มนี้ถ้าให้ IV fluid อย่างเหมาะสมตั้งแต่ในระยะแรกสามารถลดความรุนแรงของโรคได้
- ให้ตรวจ Hct ไว้เป็น baseline ก่อนให้ IV fluid
- ให้เฉพาะ isotonic solution (NSS, RLS, Hartmann’s solution) โดยให้ rate IVF เริ่มต้นตาม Hct ดังนี้
- ถ้า Hct เพิ่ม < 10% ให้ 1-1.5 mL/kg/h ในเด็ก หรือ 25 mL/h ในผู้ใหญ่
- ถ้า Hct เพิ่ม 10-19% ให้ 1.5 mL/kg/h ในเด็ก หรือ 40 mL/h ในผู้ใหญ่
- ถ้า Hct เพิ่ม > 20% ให้ 3-7 mL/kg/h ในเด็ก หรือ 80-250 mL/h ในผู้ใหญ่
- ให้ IVF 1-2 ชั่วโมงแล้วประเมิน BP, HR, PP, RR, skin turgor, skin temp ซ้ำ
- ถ้า V/S แย่ลง ให้ 10% dextran-40 in NSS (ถ้าไม่มีให้ crystalloid) 10 mL/kg/h ในเด็ก (500 mL/h ในผู้ใหญ่) แล้วประเมินซ้ำในอีก 1-2 ชั่วโมง ถ้ายังไม่ดีขึ้นให้ manage เหมือน dengue shock ดูหัวข้อ profound shock ด้านล่าง
- ถ้า V/S ดีขึ้น ให้ปรับ IVF ลงเป็นขั้นๆ (ตาม rate IVF เริ่มต้น) ในช่วงเวลา 24-48 ชั่วโมง ดังนี้ ร่วมกับการ monitor เป็นระยะ
- 7 mL/kg/h ในเด็ก (200-250 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 1-2 ชั่วโมง
- 5 mL/kg/h ในเด็ก (120-150 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 4-6 ชั่วโมง
- 3 mL/kg/h ในเด็ก (80-100 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 6-12 ชั่วโมง
- 1.5 mL/kg/h ในเด็ก (40 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 4-6 ชั่วโมง
- Monitor จนกระทั่งไข้ลง 24-48 ชั่วโมง V/S, Hct, urine output
- วัด V/S ทุก 2-3 ชั่วโมง
- Hct ทุก 4-6 ชั่วโมง
- Urine output ทุก 4-8 ชั่วโมง keep U.O. 0.5-1 mL/kg/h
การรักษาไข้เลือดออก DF/DHF/DSS
กลุ่มที่มี warning signs หรือ signs of dehydration กลุ่มนี้ถ้าให้ IV fluid อย่างเหมาะสมตั้งแต่ในระยะแรกสามารถลดความรุนแรงของโรคได้
- ให้ตรวจ Hct ไว้เป็น baseline ก่อนให้ IV fluid
- ให้เฉพาะ isotonic solution (NSS, RLS, Hartmann’s solution) โดยให้ rate IVF เริ่มต้นตาม Hct ดังนี้
- ถ้า Hct เพิ่ม < 10% ให้ 1-1.5 mL/kg/h ในเด็ก หรือ 25 mL/h ในผู้ใหญ่
- ถ้า Hct เพิ่ม 10-19% ให้ 1.5 mL/kg/h ในเด็ก หรือ 40 mL/h ในผู้ใหญ่
- ถ้า Hct เพิ่ม > 20% ให้ 3-7 mL/kg/h ในเด็ก หรือ 80-250 mL/h ในผู้ใหญ่
- ให้ IVF 1-2 ชั่วโมงแล้วประเมิน BP, HR, PP, RR, skin turgor, skin temp ซ้ำ
- ถ้า V/S แย่ลง ให้ 10% dextran-40 in NSS (ถ้าไม่มีให้ crystalloid) 10 mL/kg/h ในเด็ก (500 mL/h ในผู้ใหญ่) แล้วประเมินซ้ำในอีก 1-2 ชั่วโมง ถ้ายังไม่ดีขึ้นให้ manage เหมือน dengue shock ดูหัวข้อ profound shock ด้านล่าง
- ถ้า V/S ดีขึ้น ให้ปรับ IVF ลงเป็นขั้นๆ (ตาม rate IVF เริ่มต้น) ในช่วงเวลา 24-48 ชั่วโมง ดังนี้ ร่วมกับการ monitor เป็นระยะ
- 7 mL/kg/h ในเด็ก (200-250 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 1-2 ชั่วโมง
- 5 mL/kg/h ในเด็ก (120-150 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 4-6 ชั่วโมง
- 3 mL/kg/h ในเด็ก (80-100 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 6-12 ชั่วโมง
- 1.5 mL/kg/h ในเด็ก (40 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 4-6 ชั่วโมง
- Monitor จนกระทั่งไข้ลง 24-48 ชั่วโมง V/S, Hct, urine output
- วัด V/S ทุก 2-3 ชั่วโมง
- Hct ทุก 4-6 ชั่วโมง
- Urine output ทุก 4-8 ชั่วโมง keep U.O. 0.5-1 mL/kg/h
Quote from สุขภาพและความงาม on กรกฎาคม 13, 2023, 5:47 amGroup C: คือกลุ่ม severe dengue (ดังตารางข้างต้น) กลุ่มนี้ต้อง admit ในรพ.ที่สามารถให้ blood transfusion ได้ การรักษากลุ่มนี้คือการให้ IV fluid อย่างรวดเร็วเพื่อรักษา effective circulation ช่วงที่มี plasma leakage (ไม่เกิน 48 ชั่วโมง) และต้องการ fluid resuscitation (IV bolus ไม่ใช่ IV drip) เป็นช่วงๆภายใต้การเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดเพื่อทำให้ central และ peripheral circulation ดีขึ้น และ end-organ perfusion ดีขึ้น
- กลุ่ม Compensated shock: (normal SBP, narrow PP, tachycardia, cool extremities, weak pulse, capillary refill > 2 s)
- ให้ตรวจ Hct ไว้เป็น baselineก่อนให้ IV fluid
- ให้ isotonic crystalloid 10 mL/kg/h x 1-2 ชั่วโมง แล้วประเมิน consciousness, BP, HR, PP, RR, skin turgor, skin temp ซ้ำ
- ถ้า V/S แย่ลง ให้ตรวจ Hct ซ้ำ
- ถ้า Hct เพิ่มขึ้น ให้ 10% dextran-40 in NSS (ถ้าไม่มีให้ crystalloid) 10 mL/kg/h ในเด็ก (500 mL/h ในผู้ใหญ่) แล้วประเมินซ้ำในอีก 1-2 ชั่วโมง ถ้ายังไม่ดีขึ้นให้ manage เหมือน dengue shock ดูหัวข้อ profound shock ด้านล่าง
- ถ้า Hct ลดลง ให้หาตำแหน่ง bleeding ให้ fresh whole blood 10 mL/kg (หรือ ตาม estimated blood loss) ถ้ามีภาวะ fluid overload ให้ PRC 5 mL/kg/dose แล้วตรวจ Hct ซ้ำ ถ้า Hct แย่ลงหรือไม่ดีขึ้นให้ transfusion ซ้ำ ถ้า Hct ดีขึ้นให้ค่อยๆลด rate IVF ลง
- ถ้า V/S ดีขึ้น ให้ปรับ IVF ลงเป็นขั้นๆ ในช่วงเวลา 24-48 ชั่วโมง ดังนี้ ร่วมกับการ monitor เป็นระยะ
- 7 mL/kg/h ในเด็ก (200-250 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 1-2 ชั่วโมง
- 5 mL/kg/h ในเด็ก (120-150 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 4-6 ชั่วโมง
- 3 mL/kg/h ในเด็ก (80-100 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 6-12 ชั่วโมง
- 1.5 mL/kg/h ในเด็ก (40 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 4-6 ชั่วโมง
- Monitor จนกระทั่งไข้ลง 24-48 ชั่วโมง V/S, Hct, urine output
- วัด V/S อย่างน้อยทุก 1-2 ชั่วโมง
- Hct ทุก 4-6 ชั่วโมง ถ้าสงสัย bleeding ให้ตรวจ Hct อย่างน้อยทุก 1-2 ชั่วโมง
- Closely monitor intake/output
Group C: คือกลุ่ม severe dengue (ดังตารางข้างต้น) กลุ่มนี้ต้อง admit ในรพ.ที่สามารถให้ blood transfusion ได้ การรักษากลุ่มนี้คือการให้ IV fluid อย่างรวดเร็วเพื่อรักษา effective circulation ช่วงที่มี plasma leakage (ไม่เกิน 48 ชั่วโมง) และต้องการ fluid resuscitation (IV bolus ไม่ใช่ IV drip) เป็นช่วงๆภายใต้การเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดเพื่อทำให้ central และ peripheral circulation ดีขึ้น และ end-organ perfusion ดีขึ้น
- กลุ่ม Compensated shock: (normal SBP, narrow PP, tachycardia, cool extremities, weak pulse, capillary refill > 2 s)
- ให้ตรวจ Hct ไว้เป็น baselineก่อนให้ IV fluid
- ให้ isotonic crystalloid 10 mL/kg/h x 1-2 ชั่วโมง แล้วประเมิน consciousness, BP, HR, PP, RR, skin turgor, skin temp ซ้ำ
- ถ้า V/S แย่ลง ให้ตรวจ Hct ซ้ำ
- ถ้า Hct เพิ่มขึ้น ให้ 10% dextran-40 in NSS (ถ้าไม่มีให้ crystalloid) 10 mL/kg/h ในเด็ก (500 mL/h ในผู้ใหญ่) แล้วประเมินซ้ำในอีก 1-2 ชั่วโมง ถ้ายังไม่ดีขึ้นให้ manage เหมือน dengue shock ดูหัวข้อ profound shock ด้านล่าง
- ถ้า Hct ลดลง ให้หาตำแหน่ง bleeding ให้ fresh whole blood 10 mL/kg (หรือ ตาม estimated blood loss) ถ้ามีภาวะ fluid overload ให้ PRC 5 mL/kg/dose แล้วตรวจ Hct ซ้ำ ถ้า Hct แย่ลงหรือไม่ดีขึ้นให้ transfusion ซ้ำ ถ้า Hct ดีขึ้นให้ค่อยๆลด rate IVF ลง
- ถ้า V/S ดีขึ้น ให้ปรับ IVF ลงเป็นขั้นๆ ในช่วงเวลา 24-48 ชั่วโมง ดังนี้ ร่วมกับการ monitor เป็นระยะ
- 7 mL/kg/h ในเด็ก (200-250 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 1-2 ชั่วโมง
- 5 mL/kg/h ในเด็ก (120-150 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 4-6 ชั่วโมง
- 3 mL/kg/h ในเด็ก (80-100 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 6-12 ชั่วโมง
- 1.5 mL/kg/h ในเด็ก (40 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 4-6 ชั่วโมง
- ถ้า V/S แย่ลง ให้ตรวจ Hct ซ้ำ
- Monitor จนกระทั่งไข้ลง 24-48 ชั่วโมง V/S, Hct, urine output
- วัด V/S อย่างน้อยทุก 1-2 ชั่วโมง
- Hct ทุก 4-6 ชั่วโมง ถ้าสงสัย bleeding ให้ตรวจ Hct อย่างน้อยทุก 1-2 ชั่วโมง
- Closely monitor intake/output
Quote from สุขภาพและความงาม on กรกฎาคม 13, 2023, 5:47 am
- กลุ่ม Profound shock
- ให้ IV resuscitation ด้วย crystalloid, blood product, หรือ 10% dextran-40 in NSS bolus 20 mL/kg ใน 15 นาที (แนะนำ colloid โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อ PP < 10) แล้วประเมิน consciousness, BP, HR, PP, RR, skin turgor, skin temp ซ้ำ
- ถ้า V/S แย่ลง ให้ตรวจ Hct ซ้ำ
- ถ้า Hct เพิ่มขึ้น ให้ 10% dextran-40 in NSS (ถ้าไม่มีให้ crystalloid) 10 mL/kg/h ในเด็ก (500 mL/h ในผู้ใหญ่) แล้วประเมินซ้ำในอีก 1 ชั่วโมง ถ้ายังไม่ดีขึ้นพิจารณาทำ hemodialysis, peritoneal dialysis, หรือ plasmapheresis; ถ้าดีขึ้นให้ 10% dextran-40 in NSS ต่ออีก 1 ชั่วโมง จึงค่อยๆลด rate IVF ลง
- ถ้า Hct ลดลง ให้หาตำแหน่ง bleeding ให้ fresh whole blood 10 mL/kg (หรือ ตาม estimated blood loss) ถ้ามีภาวะ fluid overload ให้ PRC 5 mL/kg/dose แล้วตรวจ Hct ซ้ำ ถ้า Hct แย่ลงหรือไม่ดีขึ้นให้ transfusion ซ้ำ ถ้า Hct ดีขึ้นให้ค่อยๆลด rate IVF ลง
- ถ้า V/S ดีขึ้น ให้ปรับ IVF ลงเป็นขั้นๆ ในช่วงเวลา 24-48 ชั่วโมง ดังนี้ ร่วมกับการ monitor เป็นระยะ
- 7 mL/kg/h ในเด็ก (200-250 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 1-2 ชั่วโมง
- 5 mL/kg/h ในเด็ก (120-150 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 4-6 ชั่วโมง
- 3 mL/kg/h ในเด็ก (80-100 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 6-12 ชั่วโมง
- 1.5 mL/kg/h ในเด็ก (40 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 4-6 ชั่วโมง
- Monitor จนกระทั่งไข้ลง 24-48 ชั่วโมง V/S, Hct, urine output
- วัด V/S ทุก 15 นาทีจนอาการคงที่ หลังจากนั้นทุก 1 ชั่วโมง
- Hct ทุก 4-6 ชั่วโมง ถ้าสงสัย bleeding ให้ตรวจ Hct อย่างน้อยทุก 1-2 ชั่วโมง
- Closely monitor intake/output (urine output ทุก 1 ชั่วโมง)
- ประเมินอาการทุก 1-2 ชั่วโมง ดู mental status; คอยดูว่า pleural effusion และ ascites ซึ่งจะมีหลังให้ IV fluid ว่ามีผลต่อการหายใจหรือไม่
- กลุ่ม Profound shock
- ให้ IV resuscitation ด้วย crystalloid, blood product, หรือ 10% dextran-40 in NSS bolus 20 mL/kg ใน 15 นาที (แนะนำ colloid โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อ PP < 10) แล้วประเมิน consciousness, BP, HR, PP, RR, skin turgor, skin temp ซ้ำ
- ถ้า V/S แย่ลง ให้ตรวจ Hct ซ้ำ
- ถ้า Hct เพิ่มขึ้น ให้ 10% dextran-40 in NSS (ถ้าไม่มีให้ crystalloid) 10 mL/kg/h ในเด็ก (500 mL/h ในผู้ใหญ่) แล้วประเมินซ้ำในอีก 1 ชั่วโมง ถ้ายังไม่ดีขึ้นพิจารณาทำ hemodialysis, peritoneal dialysis, หรือ plasmapheresis; ถ้าดีขึ้นให้ 10% dextran-40 in NSS ต่ออีก 1 ชั่วโมง จึงค่อยๆลด rate IVF ลง
- ถ้า Hct ลดลง ให้หาตำแหน่ง bleeding ให้ fresh whole blood 10 mL/kg (หรือ ตาม estimated blood loss) ถ้ามีภาวะ fluid overload ให้ PRC 5 mL/kg/dose แล้วตรวจ Hct ซ้ำ ถ้า Hct แย่ลงหรือไม่ดีขึ้นให้ transfusion ซ้ำ ถ้า Hct ดีขึ้นให้ค่อยๆลด rate IVF ลง
- ถ้า V/S ดีขึ้น ให้ปรับ IVF ลงเป็นขั้นๆ ในช่วงเวลา 24-48 ชั่วโมง ดังนี้ ร่วมกับการ monitor เป็นระยะ
- 7 mL/kg/h ในเด็ก (200-250 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 1-2 ชั่วโมง
- 5 mL/kg/h ในเด็ก (120-150 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 4-6 ชั่วโมง
- 3 mL/kg/h ในเด็ก (80-100 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 6-12 ชั่วโมง
- 1.5 mL/kg/h ในเด็ก (40 mL/h ในผู้ใหญ่) นาน 4-6 ชั่วโมง
- ถ้า V/S แย่ลง ให้ตรวจ Hct ซ้ำ
- Monitor จนกระทั่งไข้ลง 24-48 ชั่วโมง V/S, Hct, urine output
- วัด V/S ทุก 15 นาทีจนอาการคงที่ หลังจากนั้นทุก 1 ชั่วโมง
- Hct ทุก 4-6 ชั่วโมง ถ้าสงสัย bleeding ให้ตรวจ Hct อย่างน้อยทุก 1-2 ชั่วโมง
- Closely monitor intake/output (urine output ทุก 1 ชั่วโมง)
- ประเมินอาการทุก 1-2 ชั่วโมง ดู mental status; คอยดูว่า pleural effusion และ ascites ซึ่งจะมีหลังให้ IV fluid ว่ามีผลต่อการหายใจหรือไม่
Quote from สุขภาพและความงาม on กรกฎาคม 13, 2023, 5:57 amสารละลายคอลลอยด์ที่ใช้แทน dextran ได้คือ Haemaccel
haemaccel คือ urea-linked gelatin ที่ใช้เพิ่มปริมาณของเหลวภายในหลอดเลือด มีกลไกการออกฤทธิ์เช่นเดียวกับ dextran แต่ไม่มีคุณสมบัติในการป้องกัน venous thromboembolism
ขนาด 500 ML ส่วนประกอบของ Haemaccel มีอะไร?
Haemaccel contains sodium chloride and potassium chloride with Polygeline (urea-linked gelatin)17.5 gm : Haemaccel contains 4.25g sodium chloride & 0.20g potassium chloride per 500ml. This medicinal product contains approximately 0.1847mmol sodium in each 500ml vial.
Pharmacodynamic properties
Haemaccel is a gelatin derivative with a mean molecular weight of 30 000. It is iso-oncotic with plasma and has a
viscosity and pH similar to plasma. It has very little pharmacological action and does not interfere with cross matching
or blood typing tests.
Pharmacokinetic properties
Haemaccel has a mean half-life of about 5 hours.
About 74% is excreted by the kidneys four days after administration. It is metabolised into smaller peptides and amino
acids by proteolytic enzymes.Shelf life
Unopened: 5 years.
Once opened: Use immediatelydo not store over 25c temp.
สารละลายคอลลอยด์ที่ใช้แทน dextran ได้คือ Haemaccel
haemaccel คือ urea-linked gelatin ที่ใช้เพิ่มปริมาณของเหลวภายในหลอดเลือด มีกลไกการออกฤทธิ์เช่นเดียวกับ dextran แต่ไม่มีคุณสมบัติในการป้องกัน venous thromboembolism
ขนาด 500 ML ส่วนประกอบของ Haemaccel มีอะไร?
Haemaccel contains sodium chloride and potassium chloride with Polygeline (urea-linked gelatin)17.5 gm : Haemaccel contains 4.25g sodium chloride & 0.20g potassium chloride per 500ml. This medicinal product contains approximately 0.1847mmol sodium in each 500ml vial.
Pharmacodynamic properties
Haemaccel is a gelatin derivative with a mean molecular weight of 30 000. It is iso-oncotic with plasma and has a
viscosity and pH similar to plasma. It has very little pharmacological action and does not interfere with cross matching
or blood typing tests.
Pharmacokinetic properties
Haemaccel has a mean half-life of about 5 hours.
About 74% is excreted by the kidneys four days after administration. It is metabolised into smaller peptides and amino
acids by proteolytic enzymes.
Shelf life
Unopened: 5 years.
Once opened: Use immediately
do not store over 25c temp.